ค้นเจอ 375 รายการ

สุตะ

หมายถึงก. ไหลไป. (ป.; ส. สฺรุต).

สุร-

หมายถึง[-ระ-] น. ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. ว. กล้าหาญ, เข้มแข็ง. (ป. สูร; ส. ศูร).

บงสุ,บงสุ-,บงสุ์

หมายถึง(แบบ) น. ฝุ่น, ละออง, ธุลี. (ป. ปํสุ; ส. ปำสุ).

สุงก,สุงก-,สุงกะ

หมายถึง[สุงกะ-] น. ส่วย. ว. เนื่องด้วยการเก็บอากรจากสินค้าขาเข้าและขาออก. (ป.; ส. ศุลฺก).

มัชฌิมชนบท

หมายถึงน. ในสมัยพุทธกาลหมายถึง ดินแดนส่วนกลางของประเทศอินเดียอันเป็นที่อยู่ของพวกอริยกะ เป็นถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งนครใหญ่ ๆ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และเป็นที่ประชุมของนักปราชญ์ คณาจารย์ เจ้าลัทธิต่าง ๆ.

สถาปัตยเวท

หมายถึง[สะถาปัดตะยะเวด] น. วิชาการก่อสร้าง เป็นสาขาหนึ่งของอุปเวท. (ส. สฺถาปตฺย + เวท). (ดู อุปเวท ประกอบ).

ปริบท

หมายถึง[ปะริ-] น. บริบท.

พันธ,พันธ-,พันธ์,พันธะ

หมายถึง[พันทะ-] ก. ผูก, มัด, ตรึง. (ป., ส.). น. ข้อผูกมัด, ข้อผูกพัน

กานท

หมายถึง(โบ) น. บทกลอน เช่น สารสยามภาคพร้อง กลกานท นี้ฤๅ. (ยวนพ่าย).

ทมะ

หมายถึง[ทะ-] (แบบ) น. การข่มใจ, การทรมาน, การฝึกตน; อาชญา, การปรับไหม. (ป., ส.).

อัตตโนบท

หมายถึงน. “บทเพื่อตน”, ในตำราไวยากรณ์บาลีและสันสกฤตใช้เป็นเครื่องหมายให้ทราบว่า เป็นกริยากรรมวาจกหรือภาววาจก เช่น สูเทน โอทโน ปจิยเต = ข้าวสุกอันพ่อครัวหุงอยู่, ปจิยเต เป็นกริยาอัตตโนบท, ตรงข้ามกับ ปรัสสบท.

ฉินท,ฉินท-,ฉินท์

หมายถึง[ฉินทะ-] (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทำลาย. (ป., ส.).

 คำไทย ศัพท์มาใหม่ สแลง จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ