ตัวกรองผลการค้นหา
ติก,ติก-,ติกะ
หมายถึง[ติกะ-] (แบบ) น. หมวด ๓ คือ ที่รวมวัตถุหรือธรรมะอย่างละ ๓. (ป.).
ครหา
หมายถึง[คะระหา, คอระหา] ก. ติเตียน, ติโทษ. (ป., ส. คฺรหา).
ประ,ประ-,ประ-
หมายถึง[ปฺระ] ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร เช่น ประทม เป็น บรรทม.
ค่อน
หมายถึงก. ติ, ว่าให้สะเทือนใจ.
เตียน
หมายถึงก. ติ, ทัก.
ดำหนิ
หมายถึง[-หฺนิ] (แบบ) ก. ติทัก, ติเตียน. (แผลงมาจาก ติ).
อัชฌัตติก,อัชฌัตติก-
หมายถึง[อัดชัดติกะ-] ว. ภายใน, เฉพาะตัว, ส่วนตัว, เช่น อัชฌัตติกปัญญา. (ป.).
ภารดี
หมายถึง[พาระ-] น. ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา. (ส. ภารติ).
มรณันติก,มรณันติก-
หมายถึง[มะระนันติกะ-] ว. มีความตายเป็นที่สุด. (ป. มรณ + อนฺติก).
มยุรคติ
หมายถึง[มะยุระคะติ] น. ท่าทางของนกยูง. (ส. มยูรคติ).
ติตถะ
หมายถึง[ติด-] (แบบ) น. ดิตถ์, ท่านํ้า. (ป.).
ประ
หมายถึง[ปฺระ] ก. ปะทะ เช่น ประหมัด, กระทบ, ระ, เช่น ผมประบ่า.